สรรพคุณเภสัชตามหลักวิชาเภสัชกรรมไทย
สรรพคุณเภสัช หมายถึงคุณสมบัติทางยาของเภสัชวัตถุที่กล่าวถึงตามหลักวิชาเภสัชกรรมไทยระบุว่าก่อนที่จะรู้จักสรรพคุณของยาจำเป็นต้องรู้จักรสของยาก่อน เนื่องจากวิชาการแพทย์แผนไทยกล่าวว่ารสของยาจะแสดงถึงสรรพคุณยาดังนั้นเมื่อรู้จักรสของยาแล้วก็จะรู้จักสรรพคุณของยาอย่างกว้างๆได้ ในเรื่องของรสยานี้ตำราแบ่งออกเป็นรสประธาน3รส1ยารสเย็นได้แก่ยาที่ปรุงผสมด้วยเกสรดอกไม้ ที่ไม่ร้อนใบไม้รากไม้ที่ไม่ร้อนสตาร์เขาคือเขาสัตว์7ชนิดได้แก่เขาวัวเขาควายเขากระทิงเขากวางเขาแกะเขาแพะ และเขาเลียงผาcervicalคือเขี้ยวสัตว์9ชนิดได้แก่เขี้ยวหมูป่าเขี้ยวหมีเขี้ยวเสือเขี้ยวหมาป่าเขี้ยวปลาพะยูนเขี้ยวจระเข้เขี้ยวเลียงผานอแรดและงาช้างค่ะและของที่เผาหรือสมุดให้เป็นถ่านเมื่อปรุงเป็นยาเสร็จแล้วจะได้รสยาเย็นใช้แก้โรคที่เกิดจากธาตุไฟ2ยารสร้อนได้แก่ยาที่ปรุงด้วยเบญจกูลตัวยาที่มีรสร้อน5อย่างได้แก่ดีๆรากช้าพลูเถาสะค้านรากเจตมูลเพลิงและขิงแห้งตรีกฏุกตัวยาที่มีรสร้อน3อย่างได้แก่ขิงแห้งพริกไทยและดีปลีสรรพคุณขิงข่าเมื่อปรุงเป็นยาเสร็จแล้วจะได้รสยาที่มีรสร้อนใช้แก้โรคที่เกิดจากธาตุลม3ยารสสุขุมได้แก่ยาที่ปรุงด้วยโกรธเทียนกฤษณากะลำพักชะลูดอบเชยของดอกเมื่อปรุงเป็นยาแล้วจะได้ยาที่มีรสสุขุมเช่นยาหอมสำหรับแก้โรคทางโลหิตสรุปได้คือโรคที่เกิดจากปถวีธาตุพิการให้แก้ด้วยยารสฝาดรสหวานรสมันรสเค็มโรคที่เกิดจากอาโปธาตุพิการให้แก้ด้วยยารสเปรี้ยว รสเบื่อเมารสขมส่วนโรคที่เกิดจากวาโยธาตุพิการให้แก้ด้วยยารสสุขุม รสเผ็ดร้อน โรคที่เกิดจากเตโชภาพพิการให้แก้ด้วยยารสจืดรสเย็นและได้กำหนดตัวยาประจำชาติต่างๆไว้คือดีปลีประจำปฐวีธาตุเถาสะค้านประจำวาโยธาตุรากชะพลูประจำอาโปธาตุรากเจตมูลเพลิงประจำเตโชธาตุและขิงแห้งประจำอากาศธาตุค่ะซึ่งตัวยาบางชนิดสามารถใช้ในการต้มเพื่อเข้ารับการอบตัวสมัยก่อนจะใช้เป็นกระโจมอกแต่ปัจจุบันจะนิยมใช้เป็นตู้อบสมุนไพรเก้าอี้นวดเท้าเพื่อสุขภาพค่ะ